ComPuTer service
วันอังคารที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ประเภทของแรม
1. เอฟพีเอ็มดีแรม (Fast Page Mode Dynamic RAM : FPM DRAM) เป็นแรมที่พัฒนาหลังจากไดนามิกแรมธรรมดาในยุคแรกๆ เอฟพีเอ็มดีแรมเป็นแรมชนิดที่เก่าที่สุดที่ยังคงมีขายอยู่ ในตลาดคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันยังคงมีการผลิตมาจำหน่ายแต่น้อยมาก ทำให้เป็นแรมชนิดที่มีราคาแพง
2. อีดีโอแรม (Extended Data Output RAM : EDO RAM) เป็นแรมที่พัฒนาขึ้นหลังจากเอฟพีเอ็มดีแรม พัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.2538 โดยบริษัทไมครอนในประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเพนเทียมเอ็มเอ็มเอ็กซ์ เพนเทียมโปร ซึ่งไม่เป็นที่นิยมแล้วในปัจจุบัน
3. เอสดีแรม (Synchronous Dynamic RAM : SDRAM) หลังจาก พ.ศ. 2538 การพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์เป็นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในยุคต่อมาเพนเทียมทูร์ (Pentium II) และเพนเทียมทรี (Pentium III) เป็นเครืองที่มีความถี่สูงกว่า 66 เมกะเฮิรตซ์ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ มีผลให้อีดีโอแรมทำงานได้ไม่ดีพอ จึงมีการผลิตแรมที่เรียกว่าเอสดีแรมซึ่งเป็นแรมชนิดที่ยังใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
4. ดีดีอาร์ เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) เป็นแรมที่พัฒนามาจากเอสดีแรม นิยมเรียกอีกอย่างว่า ดีอาร์ดีแรม (DRDRAM) สามารถทำงานได้เร็วกว่าเอสดีแรมธรรมดา 2 เท่า
5. อาร์ดีแรม (Rambus Dynamic RAM : RDRAM) เป็นแรมที่ได้รับการออกแบบระบบใหม่ ให้แตกต่างจากแรมชนิดอื่นที่ได้กล่าวมาข้างต้น พัฒนาโดยบริษัทแรมบัส (Rambus Inc.) ส่งข้อมูลผ่านทางบัสที่มีความเร็วสูง เป็นแรมประเภทที่มีราคาแพงและการใช้งานซับซ้อน จึงไม่เป็นที่นิยมเท่ากับเอสดีแรม และดีดีอาร์เอสดีแรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
บทความใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
สมาชิกห้อง
rujira
การศึกษา:วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน
เพื่อนในห้อง
รัตติยา สำเภาเงิน
รุ่งอรุณ จันทรางศุ
สัดดาวัลย์ พรหมเซาะ
วิชชุตา อยู่ตระกูล
กรกฎ ยศธร
กฤษดา พวงศิริ
โกวิท เคลิ้มฝัน
เพื่อนในห้อง
จิรพล ศรีเจริญ
จิระย์ อินทศร
ชนินทร์ คงแสง
ณัฐวุฒิ บุญแรม
ธวัชชัย ทองลิม
นพพร ฉิมฤทธิ์
ประพันธ์ วิเชียรรัตนพันธ์
ปองพล แท่นจันทร์
กิตติภพ วรคุณาลัย
พงษ์สันต์ สุดสงค์
ภาคิไนย เอี่ยมลออ
ยศพนธ์ คำนวล
วีรพงศ์ ภาวะไพบูลย์
สุรสิทธิ์ รักสนอง
อภิชัย นพรัตน์สิทธิศัก
อานนท์ วิจิตรภู
คลังบทความของบล็อก
▼
2010
(16)
►
สิงหาคม
(10)
▼
มิถุนายน
(4)
ประเภทของแรม
CPUCeleron Dual Core E3300 2.50GHzRAMRC DDR3 1333/...
รหัสตัวอักษร แอสกี
เศรษฐกิจพอเพียง
►
พฤษภาคม
(2)
ผู้ติดตาม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น